1. ประเภทของสายไฟ
1. ประเภทของสายไฟ
เลือกสายไฟที่เหมาะสมกับการใช้งาน ตัวอย่าง สายสัญญาณที่ใช้ในอาคาร หรือ สถานที่ที่มีประชาชนหนาแน่น หรือ เฝ้าระวังเป็นพิเศษ ควรเลือกใช้สายสัญญาณที่มีส่วนประกอบของ "Mica Tape" ต้านทานการติดไฟ สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ขณะเผาไหม้ ณ ช่วงเวลาหนึ่ง
- อาทิ สายสัญญาณแบบทนเพลิงไหม้ (Fire Resistance Cable 1P X 1.50)
ดูสินค้า
2. ขนาดของสายไฟ
ตรวจสอบขนาดของสายไฟให้เหมาะสมกับการใช้งาน
3. วัสดุที่ใช้ทำตัวนำและฉนวน
ตัวนำไฟฟ้าควรเป็นทองแดงหรือทองแดงเคลือบดีบุกที่มีคุณภาพสูง ฉนวนหุ้มควรเป็นวัสดุที่ทนต่อความร้อนและมีความยืดหยุ่น เช่น PVC หรือ XLPE อาทิ
- สายสัญณาญสำหรับงานระบบเสียงแบบมืออาชีพ (Guitar/Music Instrument 1CX18AWG) ตัวนำเป็นทองแดงแกนฝอยเคลือบดีบุก ฉนวนภายในทำจาก FOAM PE เพื่อป้องกันสัญณาญรบกวนอย่างเหนือขั้น ดูสินค้า
- สายไฟอลาม Fire Alarm Cable ตัวนำเป็นทองแดงแกนเดี่ยว ฉนวนภายในทำจาก PVC ดูสินค้า
4. มาตรฐานการผลิต
เพื่อหลีกเลี่ยงสัญญาณรบกวน สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นต้องถูกลดทอนหรือกระจายออกไป ดังนี้
เลือกสายไฟที่ผ่านการรับรองตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น มอก. (มาตรฐานอุตสาหกรรม) สำหรับประเทศไทย หรือมาตรฐานสากล เช่น ISO 9001, ISO14001, TCL Certificates, UL, ETL และ CSA
ดูเพิ่มเติม
5. ผู้ผลิตและแบรนด์น่าเชื่อถือ
เลือกซื้อสายไฟจากผู้ผลิตหรือแบรนด์ที่มีชื่อเสียงและมีประวัติการผลิตที่น่าเชื่อถือ เราบริษัท เคพี เทรดดิ้ง กรุ๊ป จำกัด มีประสบการณ์ยาวนานกว่า 30 ปี ผู้จัดจำหน่ายแต่เพียงผู้เดียวของ HOSIWELL CABLE
6. ความยืดหยุ่นและความแข็งแรงของสายไฟ
สายไฟควรมีความยืดหยุ่นพอที่จะติดตั้งได้ง่าย แต่ก็ต้องแข็งแรงพอที่จะทนต่อการใช้งานระยะยาว
- สายไมโครโฟน รุ่นปรหยัด (Microphone Cable 1PX24AWG) แบบนิ่มยืดหยุ่นได้ดี ดูสินค้า
7. Marking บนสายไฟ
ตรวจสอบข้อมูลที่พิมพ์บนสายไฟ เช่น ชนิดสายไฟ ขนาดสายไฟ วัสดุที่ใช้ แรงดันไฟฟ้า และมาตรฐานการผลิต ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ช่วยยืนยันคุณภาพและความเหมาะสมของสายไฟ